Description
Pra Somdej Hu Baisri Tan Singh, LP Niam, Wat Noi, BE 2430
An extremely rare amulet blessed by the direct disciple of Buddhachan Toh, Luang Phor Niam.
We offer this pim at a very special price as an introduction to those that are not familiar with this great monk or his amulets. This is one monk that you should be aware of being the teacher to great monks like Luang Phor Parn and Luang Phor Nong, Wat Klong Madan. Some of the neua chin amulets blessed by Luang Phor Niam sell for extraordinary amounts of money and the value of these baked soil amulets will likewise increase in value over the years


Luang Phor Niam, was a well known and highly respected monk from Wat Noi in Suphanburi province. Wat Noi is an ancient temple, established several hundred years ago but deserted in B.E.2310 after the Burmese army had invaded the Thai Kingdom.
Luang Phor Niam who was invited to become abbot of the temple spent years renovating the structure until such time it was one of the most beautiful in the province.Nowadays the temple is located on the east side of the Supan River in Kokkram Sub-district, Bangplamar, Supanburi Province.
Luang Phor Niam was born in around B.E.2372-B.E.2373, during the reign of King Rama III, in Ban Parperk Village, Bangplamar, Supanburi Province.(Note: King Rama III reigned the Kingdom during B.E.2367-B.E.2394.)
Although his background is not entirely clear it is believed that Luang Phor Niam was ordained at Wat Rakhang in B.E.2393 and had learned sacred sciences from the most famous of all monks, Somdej Prabuddhacharn Toh.
As abbot of Wat Noi, he sent many of his disciples to be educated at Wat Rakhang, many of whom are now highly respected themselves, such as, Luang Phor Parn of Wat Bangnomko, Ayudhaya Province, Luang Phor Nong of Wat Klongmadan, Supanburi Province, and Luang Phor Sorn of Wat Palaylai, Supanburi Province.
Luang Phor Niam had remained in Bangkok for approximately 20 years, returning to Supanburi Province in B.E.2413, when at the age of 40 he dwelt at Wat Rocharern later being invited to become abbot of Wat Noi in B.E.2413-2414.
Luang Phor Niam worked hard apart to renovate much of the temple and construct new buildings. Whilst not working on the temple his free time was devoted to the locals, and was well known for his medicinal skills using Thai herbs
At the, aged of 81, Luang Phor Niam passed away peacefully in the unique aspect of a laying Buddha Image. His corpse was burnt on April 13-14, B.E.2454, five months after his death.
Worshippers congregated at the temple attempting to collect ashes in the belief that they would protect against danger, black magic and evil.
Amulets
Most of Luang Phor Nium’s amulets were made of lead mixed with mercury, although some were made of baked soil such as this example. Needless to say all are rare with the lead based amulets being very expensive. Luang Phor Niam began to create his Buddha-Image amulets in B.E.2432, when he was 53 years old and had just returned from the deep forests in some northern provinces.
หลวงพ่อเนียม
หลวงพ่อเนียม วัดน้อย ชาติภูมิชาวสุพรรณบุรี บิดาเป็นชาวบ้านซ่อง ต.มดแดง อ.ศรีประจันต์ จ.สุพรรณบุรี ไม่ทราบชื่อ ส่วนมารดาเป็นชาวบ้านป่าพฤกษ์ อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี ชื่อว่า เนื่อง หลวงพ่อเนียมมีพี่น้องร่วมอุทรเดียวกันหลายคน แต่ไม่ทราบชื่อ ทราบเพียงว่าหนึ่งในนั้นมีพี่สาวชื่อว่า จาด
หลวงพ่อเนียมเกิดเมื่อปี พ.ศ. 2370 ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ บ้านป่าพฤกษ์ ต.ตะค่า อ.บางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ต่อมาท่านบรรพชาเป็นสามเณร กระทั่งอายุครบเกณฑ์อุปสมบท จึงอุปสมบท (สันนิษฐานว่าเป็นวัดป่าพฤกษ์ อันเป็นวัดบ้านเกิดใกล้บ้านท่าน) ภายหลังได้ศึกษาพระธรรมวินัยและมูลกัจจายน์ ที่วัดมหาธาตุ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร (ดังปรากฏหลักฐานนามท่านในบัญชีรายนามพระภิกษุที่จำวัดมหาธาตุฯ) และสันนิษฐานกันว่าท่านเคยไปพำนักจำพรรษา ศึกษาวิชาความรู้จากวัดระฆังโฆษิตาราม ในสมัยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมฺรังษี) อีกด้วย กระทั่งเมื่อมีอายุประมาณ40ปีจึงเดินทางกลับบ้านเกิดจำพรรษาอยู่วัดรอเจริญ เกิดขัดกับเจ้าอาวาส สุดท้ายจึงย้ายมาจำพรรษาอยู่วัดน้อย บูรณปฏิสังขรณ์วัดน้อยจากวัดร้าง ให้เป็นวัดที่เจริญขึ้นมาใหม่
หลวงพ่อเนียมมีความสนใจในทางวิปัสสนาธุระ ท่านช่วยให้การศึกษาแก่ศิษยานุศิษย์อย่างเต็มที่ ท่านมีชื่อเสียงในการรักษาโรคต่าง ๆ สามารถมองเห็นเหตุการณ์ต่างๆข้างหน้าได้อย่างตาทิพย์ การถ่ายรูปท่านว่ากันว่าถ่ายไม่ติด พระเณรที่ประพฤติผิดวินัย ท่านสามารถทราบได้เองโดยไม่ต้องมีใครมาบอกท่านมีเรื่องเล่าในกฤษดาภินิหารต่างๆ ท่านเป็นผู้ที่ความเมตตาต่อสัตว์ทุกชนิด กิจวัตรของท่านก็คือ ตื่นแต่เช้ามืด ครองจีวรแล้วปลงอาบัติ เสร็จแล้วนั่งสนทนากับพระภิกษุในวัดเป็นการอบรมไปในตัว พ่อรุ่งเช้าจึงออกบิณฑบาตโปรดญาติโยม กลับมาฉันภัตตาหาร แล้วจะนำอาหารไปเลี้ยงสัตว์ต่างๆที่เข้ามาพึ่งพาอาศัยวัด
ท่านมรณภาพในลักษณะคล้ายพระพุทธรูปปางไสยาสน์นับเป็นพระสงฆ์องค์แรกของประเทศไทย เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2450 ตรงกับปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สิริอายุได้ 80 ปี อยู่ในสมณเพศได้ 60 พรรษา ประชุมเพลิงศพในเดือนเมษายน พ.ศ. 2451 โดยมีพระพุทธวิถีนายก (บุญ ขนฺธโชติ) สมัยคุมมณฑลนครชัยศรี และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (แพ ติสฺสเทโว) ขณะดำรงสมณศักดิ์ที่พระธรรมโกศาจารย์ เจ้าคณะมณฑลนครชัยศรี มาในงานด้วย